หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 3ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว

แรงจูงใจ
แรงจูงใจของนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นตัวกำหนดบุคลิกภาพของบุคคลแรงจูงใจด้านการท่องเที่ยว หรือแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว หมายถึง เครือข่าย (Network) ทั้งหมดของพลังทางวัฒนธรรมและพลังทางชีววิทยา ซึ่งเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมทางการท่องเที่ยว
1.ทฤษฎีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น(Hierarchy of needs)
ทฤษฎีแรงจูงใจของ Maslow กล่าวว่ามนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการ และมนุษย์จะแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อที่จะสนองตอบความต้องการและความต้องการจำเป็นต่าง ๆ ความต้องการของมนุษย์ไม่มีวันจบสิ้น
ลำดับขั้นความต้องการของความจำเป็นของ Maslow







2.ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(Travel Career Ladder)
ผู้นำเสนอทฤษฎีนี้คือ Philip Pearec



  • ความต้องการที่จะได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด
  • ความต้องการความปลอดภัยมั่นคง
  • ความต้องการสร้างสัมพัธภาพ
  • ความต้องการความภาคภูมิใจและการพัฒนาตนเอง
  • ความต้องการที่จะได้ความพึงพอใจอย่างสูงสุด

3.แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น(Hidden Agenda) ของ Crompton มี 7 ประเภทดังนี้

  • การหลีกหนีจากสภาพแวดล้อมที่จำเจ
  • การสำรวจและการประเมินตนเอง
  • การพักผ่อน
  • ความต้องการเกียรติภูมิ
  • ความต้องการที่จะถอยกลับไปสู่สภาพดั้งเดิม
  • กระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
  • การเสริมสร้างการปะทะสังสรรค์ทางสังคม

4.แรงจูงใจในทางการท่องเที่ยวในทัศนะ ของ Swarbrooke

แรงจูงใจสำคัญ ๆ ที่ทำให้คนเดินทางจำแนกได้ 6 ชนิด คือ

  • แรงจูงใจในทางสรีระหรือทางกายภาพ(Physical)
  • แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม คือ การสนใจในวัฒนธรรมที่แปลกใหม่ ทำให้เกิดการท่องเที่ยวเพื่อชมบ้านเมือง
  • การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง(Emotional) นักท่องเที่ยวที่มีแรงจูงใจประเภท นี้เรียกว่า แรงจูงใจทางด้านการถวิลหาอดีต
  • การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาสถานภาพ(Status)
  • แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง(Personal development)
  • แรงจูงใจส่วนบุคคล(Personal)
ในหนังสือเรื่องconsumer behavior in tourismของjohn swarbookeซึ่งตีพิมพ์ในปีค.ศ.1999swarbooke จำแนกแรงจูงใจสำคัญๆที่ทำให้คนเดินทางออกเป็น 6ชนิด ด้วยกันที่แสดงอยู่ในแผนภูมิที่3แรงจูงใจเหล่านี้ได้แก่
1. แรงจูงใจทางด้านสรีระหรือทางกายภาพ(physical)
2. แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
3. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ควารู้สึกบางอย่าง

4. การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานภาพ
5. แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
6. แรงจูงใจส่วนบุคคล


จากแนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจในทัศนะของนักวิชาการด้านแรงจูงใจทั้ง4คนที่ได้กล่าวมาแล้วสามารถสรุปได้ว่า ในการที่นักท่องเที่ยวจะเลือกแหล่งที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่งไม่ได้เกิดจากแรงจูงใจอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่การตัดสินใจที่จะไปท่องเที่ยวมักจะเกิดจากแรงจูงใจหลายๆอย่างในเวลาเดียวกันเช่น การที่คู่สมรสชาวฮ่องกงผู้หนึ่งตัดสินใจเดินทางมาเที่ยวประเทศไทย

แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
Pearce Morrison และRutledge (1998) ได้นำเสนอแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการดังต่อไปนี้
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่วแวดล้อม

2. แรงจูงใจที่ได้พบปะกับคนในท้องถิ่น
3. แรงจูงใจที่จะที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4. แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5. แรงจูงใจที่จะพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่น่าสบาย
6. แรงจูงใจที่จะที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7. แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
10. แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง

ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้วิธีการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
นักเดินทางประเภทแบกเป้นักเดินทางแบบนี้กำลังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิวซีแลนด์ แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการเดินทางลักษณะแบบนี้อาจจะสรุปได้เป็น 4 มิติด้วยกันดังต่อไปนี้
1. การหลีกหนี(escape)

2. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่วแวดล้อม
3. การทำงาน(employment)
4. เน้นการคบหาสมาคม(social focus)น

โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานในอุคสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนการสนับสนุนให้การท่องเที่ยวสามารถดำเนินงานไปได้ด้วยดี และทำให้เกิดความสะดวกสบายรวดเร็วในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการ










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น